Warrior of life

Warrior of Light, Goddess of Love, Beauty and Peace.

Food for her soul, heart and mind is love and peace.
She promised and promised to herself not blame anyone or anything, she doesn’t judge, she seen thing as they are, she doesn’t mind with nonsense, she doesn’t care from others, she doesn’t care what they say or do to hurt her.
She loves herself enough to forgive herself and the person who crosses her path.
Her heart is as pure as the sun and she is not angry at anyone.

She is always standing tall and has a compassionate heart that is highly regarded and always accepted no matter how hurt.
She knows the truth …
She can walk through it all, she can do it.
She will not be destroyed because she is a part of the God of Light. God / Goddess is within her.
No one can destroy.

Her love for life has given her awe-inspiring beauty and sparkling shine that does not come from this world.
She knows that in her heart is sufficiency.

She knows that no matter how difficult the journey is, she will be able to overcome all the challenges (battles) and the darkness that the world and people are trying to put on her. She knows no matter how she falls.
No matter how hard it’s she will overcome all because she is a warrior.
No matter how her heart is broken into
pieces her heart will never turn cold or hate because she is loved. Her love is very pure, her core is innocent.

Just a story, a story maybe it’s true …
But if you believe and feel it in your heart… it’s resonate with you. only your heart know the truth you feel it within you.
If you can feel it’s true, it’s really for you.
You are part of the God/Goddess of light.

You are the loved and the light to this world,
You always have been,
always be and always will be.
Be who you truly are.
Be love and light.
🕊💜🕊

Be the light!!!

7b9f986ca81d73a0e2086d1fd4e5b1d4.gif

Leave the darkness within you!!! , be the light!!! guide yourself to the path of peace with your pure love and kindness…Be you!!! Have pure love and be kind to yourself and to our world and other creatures too. 😊💙💚💛💜💕🐥🐦🐤🐇🐣🌳🍀🌹🌸🌼🌿🌾🌄🌕🐥🐦🐤🐇🐣🌳🍀🌹🌸🌼🌿🍃🍃🍃🍃🌿🌾🌄🌕 🌐

เสรีภาพพิเศษนั้น

 ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙

eac7f1b8f858967776a87711081a98d6.gif

เสรีภาพพิเศษนั้น มันเป็นอารมณ์ที่คุณจะพบได้ภายในตัวเอง
มันเป็นความรู้สึกของการยับยั้งที่สมบูรณ์แบบโดยไม่มีข้อผูกมัดใดใดในใจ ความรู้สึกบีบรัดกดดันในตัวเองก็จะหมดไป
(ความรู้สึกที่เป็นอีสระจากสิ่งทั้งหลาย)
คือการเข้าสู่ความสมบูรณ์ที่เป็นตัวเองโดยไม่มีเขตจำกัดและไม่ต้องยุ่งเกี่ยวกับวิธีการที่คนอื่นรู้สึกเกี่ยวกับเรา นี่เป็นความรู้สึกที่หาได้ยากเพราะเราไม่ได้มีความรู้สึกนี้อยู่ตลอดเวลา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาพแวดล้อมในชีวิตประจำวันการทำงานของเราและในการติดต่อทางสังคมจนเราขาดเสรีภาพในการพูดและทำในสิ่งที่เราต้องการขาดความเป็นตัวเอง
เรามองหาคำตอบภายนอกที่จะมาทำให้ตัวเองมีความสงบสุขหรือมีความเป็นอีสระภาพในตัวเอง ซึ่งนั่นหมายความว่าเราจะหาคำตอบได้ยาก แต่ถ้าเราหาคำตอบในตัวเองว่าเราจะทำใจให้เป็นอิสระจากสิ่งทั้งหลายได้อย่างไร? เราก็จะมีคำตอบให้ตัวเราเองได้โดยง่าย มันขึ้นอยู่กับเราว่าเราเลือกที่จะเป็นอิสระจากสิ่งทั้งหลายแล้วหรือยัง?

คุณจะเชื่อมั้ย ? บันไดจิตวิวัฒน์ ๕ ขั้น

0587a8d061fef09a1f34bddd0dcf8584.gif

คุณจะเชื่อมั้ยถ้าจะบอกว่ามนุษย์ในโลกนี้เคยเกิดกันมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งแสนถึงหนึ่งร้านๆชาติ
กว่ามนุษย์จะวิวัฒธนาการมาถึงปัจจุบันต้องผ่านขั้นตอนการพัฒจิตวิญญาณครั้งแล้วครั้งเล่าและแม้ว่าจิตจะไต่ระดับขึ้นสูงก็ตามก็ยังมีโอกาสพลั้งเผลอที่จะเลื่อนไหลลงมาสู้ระดับต่ำได้อีกเช่นกัน
อาจารย์ ศรชัย ฉัตรวิริยะชัย แห่งกลุ่ม จิตวิวัฒน์ ได้อธิบายเรื่องนี้ไว้อย่างชัดเจนในหัวข้อ
บันไดจิตวิวัฒน์ ๕ ขั้น
ซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์มติชน เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2554 ฉบับประจำวัน ท่าน
ได้กล่าวไว่ว่า วิวัฒนาการของมนุษย์มีระดับของจิต 5 ระดับดังนี้

จิตระดับที่ 1
ตกอยู่ในความหลับไหลพวกเค้ววนเวียนอยู่กับการแสวงหาความสุขทางโลกเพื่อตอบสนองความต้องการของตัวแต่เพราะความไม่เข้าใจธรรมชาติของจิตใจและไม่เคยฝึกฝนจิตตนให้มีกำลังจึงมักขุ่นข้องหมองใจเสมอ

จิตระดับที่ 2
ไม่แตกต่างจากจิตระดับที่หนึ่งมากนักเพราะตกอยู่ในความหลับไหลเช่นเดียวกันจิตระดับนี้มักจะบอกว่าเค้าไม่ได้ทำทุกอย่างเพื่อตัวเองแต่ทำเพื่อความสุขของผู้อื่นโดยลึกๆแล้วพวกเค้าก็อยากให้คนรอบข้างหรือสังคมเป็นไปดั่งใจของเค้าและขุ่นเคืองหากมันไม่ได้เป็นอย่างนั้นความสุขของเค้าจึงฝากไว้กับปัจจัยภายนอกหรือคนรอบตัวซึ่งแน่นอนว่าธรรมชาติของมนุษย์คือเอาแต่ใจตัวเองพวกเค้าจึงมักจะพบกับความผิดหวังเสมอ

จิตระดับที่ 3
ถึงแม้จะพ้นไปจากสังคมที่มีอยู่แต่ก็ไปติดอยู่กับเสียงของความดีที่เป็นสากลอยู่ดีพวกเค้าจึงกลายเป็นพวกมาตรฐานสูงการดำรงอยู่จึงเต็มไปด้วยคำตัดสินและการวิพากษ์วิจารณ์การเปรียบเทียบและความไม่ยอมลงเอยกับตัวเอง
แต่ถ้าพัฒนาแล้วก็จะกลายเป็นผู้นำที่มีวิศัยทัศกว้างไกล

จิตระดับที่ 4
มีเมตตาธรรมหรือความรักที่ปราศจากเงื่อนไขให้กับผู้คนพวกเค้าให้โดยไม่หวังสิ่งตอบแทนมีแรงศรัทธากล้าในความเชื่อทางศาสนาหรือหลักหลักที่ใช้ในการดำเนินชีวิตการเข้าถึงจิตระดับนี้ได้ต้องอาศัยศรัทธาในระดับที่ไม่ธรรมดาไม่ใช่ว่าจะทำกันได้ง่ายๆเพราะจิตใจมนุษย์เปรัยบเสมือนกระแสน้ำย่อมไหลลงสู่ที่ต่ำการให้ในระดับนี้สั่นสะเทือนจิตใจมนุษย์ ดูอย่าง
แม่ชีเทเรซา มหาตมะ หรือในหลวงรัฐการที่๙ของเราเป็นต้น จิตระดับนี้คือจิตใหญ่มักเป็นคนสำคัญ ที่อาจารย์หมอ ประเวศ วะสี มักจะกล่าวถึงอยู่เสมอ
และจิตระสุดท้าย

จิตระดับที่ 5 จิตระดับสุดท้าย
ก้าวถึงจุดถึงความไม่ยึดมั่นถือมั่นเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงการทำงานของจิตและเข้าใจถึงของความเป็นไปของสรรพสิ่ง จิตระดับนี้ถูกพูดถึงในปรัชญาเมที เช่นเต่าและคุรุผู้รู้หลายท่านได้เอ่ยถึงเช่นกัน

ข้าพเจ้าเห็นว่าน่าสนใจและมีประโยชน์ และอยากจะเขียนลงไว้ให้อ่านกัน
ในเรื่องของจิต ท่านอาจตรวจดูจิตของท่านบ้างว่า จิตของท่านอยู่ในขั้นหรือในระดับไหน จิตของเราในแต่ระวันแต่ระนาทีไหลขึ้นลงผ่านเป็นขั้นๆโดยเรานั้นต้องคอยเฝ้าดู และควรยก ระดับจิตอยู่ตลอดเวลา 

ระดับจิตใจเรานั้นเราต้องรู้ด้วยตัวเองรู้ให้ใครไม่ได้และใครมารู้ให้ไม่ได้เพราะในแต่ละวันธรรมชาติของจิตนั้น ไหลขึ้นไหลลง พึงคอยเฝ้าสังเกตุดู และคอยยกจิตให้สูงขึ้นในแต่ละขณะเถิด 

ขอขอบคุณข้อมูลทั้งหมดจากอินเตอร์เน็ทขอขอบคุณท่านอาจารย์และครูบาอารย์คุรุผู้รู้ทั้งหลายและขอขอบคุณทุกท่านที่กรุณาเผยแพร่ความรู้ที่มีประโยชน์เหล่านี้เอาไว้

โปรดใช้วิจารณญาณ ในการอ่าน

 

ขอขอบคุณทุกท่าน

 

มนุษย์เรา ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙ ๙

13f02c2f643ce946af0c9c35df22afd8

 

มนุษย์เรามักจะมองนอกคอกออกไปในสิ่งที่เราไม่ได้เป็นและมักจะคิดออกนอกขอบเขตของความจริงที่เราเป็นกับสิ่งที่เราทำและมีในปัจจุบัน โดยหารู้ไหมว่านั่นเป็นการทำให้ตัวเราเองเสียสมาธิ จากโลกภายนอก ซึ่งเรามักจะมองไปที่ความสำเร็จของคนอื่นหรือมองชีวิตคนอื่นจนลืมมองตัวเราเองจนลืมเป็นตัวของตัวเอง
ด้วยการที่เรามองอย่างนี้เอง จึงทำให้เราต้องหวั่นไหวไม่มั่นใจงงสงสัยกับชีวิตและทำให้ตัวเราเองไม่สมดุลคือไม่เป็นตัวเอง 100 %
มันจะง่ายกว่าไหมถ้าคุณยอมรับว่าคุณสมบูรณ์แบบ ในแบบที่คุณเป็นแบบนั้น? เมื่อคุณสามารถอยู่กับความรู้สึกของคุณเองและความจริงของตัวเองไม่มีใครหรือไม่มีอะไรสามารถทำให้คุณไม่สมดุลได้
นอกจากตัวคุณเอง!

จงรักตัวเองและเป็นตัวคุณเอง มองให้เห็นพรสวรรค์ในคุณ!🙏

คู่สร้างคู่สมตามหลักพุทธศาสนา

 

ว่าด้วยคู่สร้างคู่สมตามหลักพุทธศาสนา

จะเป็นคู่สร้างคู่สม เมื่อมีสมธรรม ๔ ประการ“ดูก่อน คฤหบดีและคฤหปตานี ถ้าภรรยาและสามีทั้งสองหวังจะพบกันและกันทั้งในชาตินี้และชาติหน้า ทั้งสองฝ่ายนั่นแหละพึงเป็นผู้มีศรัทธาเสมอกัน มีศีลเสมอกัน มีจาคะเสมอกัน มีปัญญาเสมอกัน ภรรยาและสามีทั้งสองนั้น ก็จะได้พบกันและกันทั้งในชาตินี้และชาติหน้า”

(“อากงฺเขยฺยุ ํ เจ คหปตโย อุโภ ชานิปตโย”  จาก สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต – พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑)

ชีวิตคู่ครองนี้ มีคำเรียกตามนิยมว่า ชีวิตสมรส ในทางพระพุทธศาสนามีคำสอนว่า ชีวิตสมรสที่จะมีความสุข ราบรื่น มั่นคงยืนยาวได้นั้นหลักธรรมในการเลือกคู่ครอง คือ สมชีวิธรรม 4 (qualities which make a couple well matched) เราควรเลือกคู่ครองที่มีลักษณะดังนี้
คู่สมรสควรมีคู่ธรรมที่สมหรือสม่ำเสมอกัน อันจะพึงเรียกได้ว่า สมธรรม ๔ ประการ คือ สมศรัทธา สมศีลา สมจาคา และ สมปัญญา สมธรรม ๔ ประการนี้
เป็นฐานรองรับชีวิตคู่ครองในระดับที่ลึกซึ้งยิ่งกว่าฆราวาสธรรม ๔ อย่างที่กล่าวมาแล้ว เพราะแสดงถึงความมีคุณสมบัติสมกันและความมีลักษณะนิสัยสม่ำเสมอกัน
ของคู่ครอง ซึ่งจะทำให้ผู้สมรสทั้งสองสมชีพหรือสมชีวี คือมีชีวิตที่สมหรือเสมอกัน สมธรรม ๔ ประการ นั้น

คือ๑. สมศรัทธา (to be matched in faith)  คือ มีศรัทธาสมหรือเสมอกัน ศรัทธานั้นหมายถึงความเชื่อ ความเลื่อมใส หรือความใฝ่นิยม เช่น ความเชื่อถือในลัทธิศาสนา ความเลื่อมใสในพระรัตนตรัย และความใฝ่นิยมในคุณค่า หรือสิ่งที่ยึดถือเข้าใจว่าเป็นความดีงามต่าง ๆ ความมีศรัทธาสมกันย่อมเป็นสิ่งสำคัญเบื้องแรก
ที่จะทำให้ชีวิตครองเรือน กลมกลืนสนิทสนมแน่นแฟ้น เพราะศรัทธาเป็นเครื่องหล่อหลอมความรู้สึกนึกคิด และเป็นพลังชักจูงใจในการดำเนินชีวิต
และกระทำกิจการต่าง ๆ ความมีศรัทธาสมกัน ตั้งต้นแต่ความเชื่อถือในลัทธิศาสนาอย่างเดียวกัน ตลอดจนการมีรสนิยมแนวเดียวกัน
จึงเป็นสิ่งสำคัญมากในชีวิตสมรส ถ้าศรัทธาเบื้องต้นไม่เป็นอย่างเดียวกัน ก็ต้องตกลงปรับให้เป็นไปด้วยความเข้าใจต่อกัน

๒. สมศีลา (to be matched in moral) คือ มีศีล คือความประพฤติสมหรือเสมอกัน คือ มีความประพฤติที่เข้ากันได้ อยู่ในระดับเดียวกัน ไม่เป็นเหตุให้เกิดความรังเกียจดูหมิ่น เหยียดหยาม หรือขัดแย้งรุนแรงต่อกัน เช่น ฝ่ายหนึ่งปากร้าย ชอบกล่าวคำหยาบคาย อีกฝ่ายหนึ่งได้รับการอบรม
กวดขันมาทางด้านการพูดจาสุภาพอ่อนหวาน ทนฟังคำหยาบ ไม่ได้ หรือฝ่ายหนึ่งชอบเป็นนักเลงหัวไม้ แต่อีกฝ่ายหนึ่งชอบชีวิตสงบไม่วุ่นวาย
ก็อาจเป็นทางเบื่อหน่ายร้าวฉานเลิกร้างกัน หรืออยู่อย่างทนทุกข์ทรมาน

๓. สมจาคา (to be matched in generosity) คือ มีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เสียสละสมหรือเสมอกัน ในชีวิตของบุคคลที่ต้องติดต่อเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับคนอื่น ๆเริ่มแต่ญาติมิตรสหายเป็นต้นไปนั้น ธรรมข้อสำคัญที่จะต้องแสดงออกอยู่เสมอก็คือ ความมีน้ำใจ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความมีใจกว้างขวาง
การช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยกัน หรือในทางตรงข้าม ก็เป็นความ ตระหนี่ ความมีใจคับแคบ กระด้าง คู่ครองที่มีจาคะไม่สมกันย่อมมีโอกาสเกิด
ความขัดแย้งกระทบกระเทือนจิตใจกันอยู่เรื่อยไป ทำให้ชีวิตครอบครัว เป็นชีวิตที่เปราะ มีทางที่จะแตกร้าวได้ง่าย

๔. สมปัญญา  (to be matched in wisdom)  คือ มีปัญญาสมหรือเสมอกัน ปัญญาหมายถึงความรู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักดีชั่ว รู้จักประโยชน์มิใช่ประโยชน์ ความรู้จักคิดความสามารถในการ ใช้ความคิดและเข้าใจในเหตุผล ความมีปัญญาสมกันมิได้หมายความว่าคู่ครองทั้งสองฝ่ายจะต้องได้เล่าเรียนศิลปวิทยาการ
ทรงความรู้เชี่ยวชาญเหมือน ๆ กัน แต่หมายถึงการมีความคิด การรู้จักรับฟังและเข้าใจในเหตุผลของกันและกัน และการช่วยเป็นคู่คิดของกันและกันได้
อย่างที่กล่าวกันง่าย ๆ ว่าพูดกันรู้เรื่อง คุณธรรม ข้อนี้ก็เป็นสิ่งสำคัญยิ่ง เพราะสามีภรรยาเป็นผู้อยู่ร่วมใกล้ชิดกันทุกเวลา จำต้องมีความเข้าใจกัน
ร่วมคิดร่วมปรึกษาหารือกัน บรรเทาข้อหนักใจ และช่วยกันหาทาง แก้ไขปัญหาต่าง ๆ เป็นกำลังแก่กันและกันได้ ความมีปัญญาสมกันนี้
นอกจากเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจทำให้มีความสนิทสนมกันด้วยดีแล้ว ยัง ทำให้ชีวิตของคู่ครอง ทั้งสองฝ่ายเป็นชีวิตที่ส่งเสริมคุณค่าเพิ่มกำลังแก่กันและกันอีกด้วย

คู่ครองตามที่่กล่าวไว้ใน สิทธิการิยะฯ มี 4 แบบ คือ 

1. คู่เวรคู่กรรม ได้แก่ คู่สามีภรรยาที่อยู่ด้วยกันแล้วทะเลาะเบาะแว้ง บางคู่ถึงขั้นตบตีกันแต่ก็ไม่เลิกรากันไป ยังคงใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน  แต่มักมีเรื่องบาดหมางขัดใจกัน ทะเลาะกันอยู่เป็นประจำ   ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจไม่ซื่อสัตย์   อาจสุรุ่ยสุร่าย ล้างผลาญเงินทอง อาจดูถูกดูหมิ่นอีกฝ่ายหนึ่ง ไม่ยกย่องให้เกียรติ ไม่มีความเคารพเกรงใจกัน แม้การใช้ชีวิตอยู่ร่วมกันไม่มีความสุข  แต่ก็ยังต้องอยู่ด้วยกันต่อไป

2. คู่ทุกข์คู่ยาก ได้แก่ คู่สามีภรรยาที่ลำบากลำบนมาด้วยกัน  ฟันฝ่าอุปสรรคของชีวิตมาด้วยกัน แต่ก็รักและเห็นอกเห็นใจกันเสมอ

3. คู่สร้างคู่สม ได้แก่ คู่สามีภรรยาที่อยู่ร่วมกัน  ชีวิตมีแต่ความสุข  มีโชคดี ไม่มีปัญหาและอุปสรรคใดๆ  รักและให้เกียรติยกย่องกันและกัน   มีความสุขอยู่ด้วยกันจนวันตาย

4. คู่อาศัย ได้แก่คู่รัก หรือคู่สามีภรรยา ที่รักกันได้ไม่นาน  ก็มีอันต้องเลิกรากันไปถ้าคู่สมรสคู่ใด ที่ครองรักกันอย่างมีความสุขในชีวิตนี้  และมี ศรัทธา  ศีล จาคะ ปัญญา สมกัน   แม้ตายจากกันไปแล้ว  ชาติต่อไปก็ย่อมได้เกิดมาเป็นคู่ครองกันอีก เรียกว่า คู่แล้วไม่แคล้วกันจาก อังคุตตรนิกาย  มีพระสูตรที่ 2  ปฐมสังวาสสูตร และทุติยสังวาสสูตร แห่งปุญญาภิสันทวรรค ทุติย- ปัณณาสก์ จตุกกนิบาต  ที่่ว่าด้วยการอยู่ร่วมกันระหว่างสามีภรรยามี 4 แบบ   โดยเปรียบเทียบว่า คนทุศีลเป็นเสมือนผี คนมีศีลเป็นเสมือนเทวดา ดังนี้

1. การอยู่ร่วมกันแบบผีอยู่ร่วมกับผี

หมายถึงสามีทุศีลอยู่ร่วมกับภรรยาทุศีล   ต่างฝ่ายต่างชั่วพอๆกัน บางคู่อาจเข้าใจกันดี ไปกันได้ดี อยู่ด้วยกันได้อย่างกลมกลืน บางคู่อาจเป็นแบบ ขิงก็รา ข่าก็แรง

2. การอยู่ร่วมกันแบบผีอยู่ร่วมกับเทวดา

หมายถึงสามีทุศีลอยู่ร่วมกับภรรยามีศีล  สามีเลวแต่อยู่ร่วมกับภรรยาที่ดี ฝ่ายสามีจะเป็นฝ่ายที่เอาเปรียบภรรยา ปฏิบัติต่อภรรยาไม่ดี  การอยู่ด้วยกัน ไม่ทำให้มีความสุข

3. การอยู่ร่วมกันแบบเทวดาอยู่ร่วมกับผี

หมายถึงสามีมีศีลอยู่ร่วมกับภรรยาทุศีล  สามีดีอยู่ร่วมกับภรรยาที่เลว  ฝ่ายภรรยาเป็นภาระของสามี  เอารัดเอาเปรียบสามี ปฏิบัติต่อสามีไม่ดี  อาจไม่ซื่อสัตย์ นอกใจ หรือ ล้างผลาญสมบัติ  การอยู่ด้วยกัน ย่อมไม่มีความกลมกลืน เข้ากันไม่ได้ดี

4. การอยู่ร่วมกันแบบเทวดาอยู่ร่วมกับเทวดา

หมายถึงสามีมีศีลอยู่ร่วมกับภรรยามีศีล ต่างฝ่ายต่างดีพอๆกัน  รักใคร่ปรองดองกัน ถนอมน้ำใจกัน ยกย่องให้เกียรติกันและกัน สามีภรรยาแบบนี้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขตลอดไป

 

พระพุทธเจ้า ได้จำแนกภรรยาไว้ 7 แบบ ดังนี้  ถ้าท่านต้องการภรรยาแบบไหน ย่อมเลือกลักษณะหญิงที่ท่านจะเลือกมาเป็นคู่ครองได้ตามลักษณะดังกล่าวนี้ คือ

 

ภรรยา 7 (seven types of wives)

ภรรยาแบบต่างๆ ซึ่งจำแนกโดยคุณธรรม ความประพฤติลักษณะนิสัย และการปฏิบัติต่อสามี ดังนี้

1. วธกาภริยา (a wife like a slayer; destructive wife) คือ ภรรยาเยี่ยงเพชฌฆาต

ได้แก่ ภรรยาที่คิดร้ายกับสามี   เป็นผู้หญิงที่ซื้อได้ด้วยเงิน  เห็นแก่เงิน ไม่ได้อยู่กินกับสามีด้วยความรัก มักเจ้าชู้ มีใจยินดีในชายอื่น ดูหมิ่นไม่ยกย่องให้เกียรติ ไม่เคารพสามี

2. โจรีภริยา (a wife like a robber; thievish wife) คือ ภรรยาเยี่ยงโจร

ได้แก่ ภรรยาผู้ล้างผลาญทรัพย์สมบัติ  ใช้เงินสุรุ่ยสุร่าย  ไม่รู้จักประหยัด  อาจติดการพนัน  หรือชอบความหรูหราฟุ่มเฟือย  ใช้เงินเกินตัว ไม่รู้จักประมาณตน

3. อัยยาภริยา (a wife like a mistress; Madam High and Mighty) คือ ภรรยาเยี่ยงนาย

ได้แก่ ภรรยาที่เกียจคร้าน ไม่ใส่ใจการงาน กินมาก ปากร้าย หยาบคาย ใจเหี้ยม ชอบข่มสามี

4. มาตาภริยา (a wife like a mother; motherly wife) คือ ภรรยาเยี่ยงมารดา

ได้แก่ ภรรยาที่หวังดีเสมอ คอยห่วงใยเอาใจใส่สามี เหมือนมารดาปกป้องบุตร และประหยัดรักษาทรัพย์ที่หามาได้

5. ภคินีภริยา (a wife like a sister; sisterly wife) คือ ภรรยาเยี่ยงน้องสาว

ได้แก่ ภรรยาผู้เคารพรักสามี ดังน้องรักพี่ มีใจอ่อนโยน รู้จักเกรงใจและคล้อยตามสามี

6. สขีภริยา (a wife like a companion; friendly wife) คือ ภรรยาเยี่ยงสหาย

ได้แก่ ภรรยาที่เป็นเหมือนเพื่อน พบสามีเมื่อใด ก็ปลาบปลื้มดีใจเหมือนเพื่อนพบเพื่อนที่จากไปนาน เป็นผู้มีการศึกษาอบรม มีกิริยามารยาท ความประพฤติดี ภักดีต่อสามี  เป็นคู่คิดคู่ครอง  เคียงบ่าเคียงไหล่สามี

7. ทาสีภริยา (a wife like a handmaid; slavish wife) คือ ภรรยาเยี่ยงทาสี

ได้แก่ ภรรยาที่ยอมอยู่ในอำนาจสามี ถูกขู่ตะคอกเฆี่ยนตี ก็อดทนไม่โกรธตอบ รักสามีมาก ยอมรับใช้และทำทุกอย่างเพื่อความสุขของสามี

พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ภรรยาสำรวจตนเองว่า ตนเป็นภรรยาประเภทไหน และจะให้ดีควรจะเป็นภรรยาประเภทใด

 

สำหรับชาย อาจใช้เป็นหลักสำรวจอุปนิสัยของตนว่าเหมาะแก่หญิงประเภทใดที่จะเลือกมาไว้เป็นคู่ครอง และสำรวจหญิงที่จะเป็นคู่ครองว่าเหมาะกับอุปนิสัยของตนหรือไม่  

 

การปฏิบัติต่อสามีหรือภรรยา  มีกล่าวไว้ใน  ทิศ 6 (directions; quarters)

บุคคลประเภทต่างๆ ที่เราต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ทางสังคม ดุจทิศที่อยู่รอบตัว

 

ภรรยานั้น ถือเป็นทิศที่ 3 ปัจฉิมทิศ (ทิศตะวันตก)

 

ปัจฉิมทิศ (wife and children as the west or the direction behind)

ทิศเบื้องหลัง ทิศตะวันตก ได้แก่ บุตรภรรยา เพราะติดตามเป็นกำลังสนับสนุนอยู่ข้างหลัง

ก. สามีบำรุงภรรยา ผู้เป็นทิศเบื้องหลัง ดังนี้

 1) ยกย่องให้เกียรติสมกับฐานะที่เป็นภรรยา
2) ไม่ดูหมิ่น
3) ไม่นอกใจ
4) มอบความเป็นใหญ่ในงานบ้านให้
5) หาเครื่องประดับมาให้เป็นของขวัญตามโอกาส

ข. ภรรยาย่อมอนุเคราะห์สามี ดังนี้

 1) จัดงานบ้านให้เรียบร้อย
2) สงเคราะห์ญาติมิตรทั้งสองฝ่ายด้วยดี
3) ไม่นอกใจ
4) รักษาทรัพย์สมบัติที่หามาได้
5) ขยันไม่เกียจคร้านในงานทั้งปวง

ความสมหรือเสมอกันของคู่ครองตามหลักธรรม ๔ ประการนี้มีความสำคัญอย่างมาก เพราะบุคคลทั้งสองมามีชีวิตอยู่ร่วมกันใกล้ชิดยิ่งกว่าใครๆ จนในทางโลกกล่าวว่าเป็นบุคคลเดียวกัน การที่จะมารวมเข้าด้วยกันจึงต้องอาศัยความประสานกลมกลืนเหมาะสมกันตามทางธรรมดังกล่าวมา

คำแปลเมตตาพรหมวิหาระภาวนา (มหาเมตตาใหญ่แปล)

4c5017f84f757caccfe8ccedaf8713b0 (2)
“ขอความนอบน้อมจงมีแด่พระผู้มีพระภาค
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น”
ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็นอารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถีฯ ณ โอกาสนั้นแลพระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายฯ พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ได้ตอบรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญฯ พระผู้มีพระภาคได้ประทานพระดำรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย (คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ) หวังได้แน่นอน (ที่จะได้รับ) อานิสงส์ 11 ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ (ทำให้ชำนาญ) แล้ว ทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม (ด้วยวสี 5 ประการ) ดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ อานิสงส์ 11 ประการ (ของเมตตาเจโตวิมุติ) คืออะไรบ้าง? (อานิสงส์ 11 ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ คือ)
(1) นอนหลับเป็นสุข
(2) ตื่นเป็นสุข
(3) ไม่ฝันร้าย
(4) เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย
(5) เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย
(6) เทวดาทั้งหลายเฝ้ารักษา
(7) ไฟ พิษ หรือ ศัสตรา ไม่กล้ำกราย (ในตัว) ของเขา
(8) จิตเป็นสมาธิเร็ว
(9) ผิวหน้าผ่องใส
(10) ไม่หลงตาย
(๑๑) หากยังไม่บรรลุคุณธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ หวังได้แน่นอนที่จะได้รับ อานิสงส์ 11 ประการของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ ทำให้ชำนาญ แล้วทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากขึ้นแล้ว สั่งสม ด้วย วสี 5 ประการดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มีอยู่
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปเจาะจง บุคคล มีอยู่
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศมีอยู่ฯ
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไป(โดย)ไม่เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไป(โดย)เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศ มีกี่อย่าง?

เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มี 5 อย่าง
เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไป(โดย)เจาะจง (บุคคล) มี 7 อย่าง
เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศมี 10 อย่างฯ

เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) 5 อย่างมีอะไรบ้าง?
เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) 5 อย่าง คือ

(1) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
(2) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
(4) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
(5) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ

เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปเจาะจง (บุคคล) 7 อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปเจาะจง (บุคคล) 7 อย่าง คือ)

(1) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ 10 อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ 10 อย่าง คือ)
(1) ประเภทที่ 1

(1) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (คือทิศตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (คือทิศตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (คือทิศเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (คือทิศใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (คือทิศตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (คือทิศตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (คือทิศตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (คือทิศตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(2) ประเภทที่ 2

(1) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(3) ประเภทที่ 3

(1) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(4) ประเภทที่ 4

(1) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(5) ประเภทที่ 5

(1) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(6) ประเภทที่ 6

(1) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(7) ประเภทที่ 7

(1) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(8) ประเภทที่ 8

(1) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(9) ประเภทที่ 9

(1) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(10) ประเภทที่ 10

(1) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(11) ประเภทที่ 11

(1) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

12) ประเภทที่ 12

(1) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุ(กข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(3) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ 8 นี้ คือ
ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง 1
ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง 1
ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน 1
ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง 1
ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง 1
ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร 1
จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ 1
จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ 1
จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯ

เมตตาพรหมวิหารภาวนา(จบ)

 

 

 

 

 

 

บทสวดพระคาถามหาเมตตาใหญ่ (แบบไม่มีคำแปล) และ บทแผ่เมตตาพรหมวิหารภาวนา (มหาเมตตาใหญ่แปล)

7fc1c0d072470e774d83596ec6a8c8e4 (3)

ลำดับการสวดพระคาถามหาเมตตาใหญ่

           สวดมนต์มหาเมตตาใหญ่ ป้องกันภัย แก้ไขเวรกรรม ความทุกข์เดือดร้อน รวมถึงปัญหาเลวร้ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับชีวิต อาทิ ป่วยเป็นโรคร้ายรักษาไม่หาย ถูกโกง ถูกใส่ร้ายป้ายสี ลูกเกเร ครอบครัวแตกแยก คนรักนอกใจ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นกรรมที่เราเคยสร้างไว้กับคนอื่น และถูกเจ้ากรรมนายเวรตามทวง
กรรมชั่วที่เราทำก็เหมือนกับสุนัขไล่เนื้อ มันจะตามเราไปทุกภพทุกชาติอย่างไม่ลดละ เมื่อใดที่เราอ่อนล้าและสบโอกาสมันก็จะเข้างับกัดกินอย่างไร้ความปรานี
มีทางเดียวที่จะแก้ไข คือทำอย่างไรให้เจ้ากรรมนายเวรที่เราเคยทำร้ายและสร้างความเจ็บช้ำน้ำใจจะคลายความอาฆาตแค้นและยอมให้อภัย สิ่งที่จะเอาชนะความอาฆาตพยาบาทได้ก็มีเพียงการเจริญเมตตาเท่านั้น จึงขอให้ท่านทั้งหลายสวดมนต์เจริญเมตตาทุกวันเถิด สวดให้มาก ยิ่งสวดมากเท่าไหร่ โอกาสที่ชีวิตจะหลุดพ้นจากเวรกรรมก็มีมากขึ้นเท่านั้น
ในการสวดคาถามหาเมตตาใหญ่แต่ละครั้งนั้น ผู้สวดพึงกระทำด้วยความตั้งใจจริง ไม่สักแต่ว่าทำ ให้ระลึกอยู่เสมอว่าเราทำเพื่อขออภัยขอโทษต่อเจ้ากรรมนายเวรที่เราเคยได้ล่วงเกินเขามา และการที่จะทำให้เขายอมอภัยแก่เรานั้น เราต้องทำด้วยความจริงใจ บริสุทธิ์ใจจริง ๆ เขาถึงจะเต็มใจให้อภัยและตัดเวรกรรมได้จริง เมื่อจะเริ่มสวดควรตัดเรื่องกังวลต่าง ๆ ออกไปให้หมด ให้สำรวมกาย วาจา และใจ

กราบพระ ๓ ครั้ง ด้วยเบญจางคประดิษฐ์ จากนั้นเริ่มสวดมนต์ไปตามลำดับ ดังนี้

 ๑. บทกราบพระรัตนาตรัย
 ๒. บทนอบน้อมพระพุทธเจ้า
 ๓. บทไตรสรณคมน์
 ๔. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ
 ๕. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ
 ๖. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ
 ๗. บทแผ่เมตตาให้ตนเอง 
 ๘. บทคาถามหาเมตตาใหญ่
 ๙. บทอุทิศส่วนบุญส่วนกุศล
 ๑๐. บทขออโหสิกรรมและอธิษฐานบุญ

ขณะสวดมนต์ควรสวดด้วยน้ำเสียงที่ดังพอได้ยิน ชัดถ้อยชัดคำ ควรสวดด้วยจิตใจที่สงบ ไม่ต้องรีบเร่งให้จบโดยเร็ว แรก ๆ อาจจะสวดผิดบ้างถูกบ้าง ก็ไม่เป็นไร ไม่ถือว่าเป็นบาปติดตัว เพราะเราสวดด้วยจิตบริสุทธิ์มิได้มีเจตนาที่จะแกล้งทำเล่นอันเป็นการลบหลู่พระธรรมคำสอน เมื่อได้สวดบ่อย ๆ นานไปก็จะชำนาญเอง ปัญหาเรื่องการสวดผิด ๆ ถูก ๆ ก็จะหมดไป การสวดเบื้องต้นควรสวดคำแปลด้วย เพื่อจะได้เข้าใจในเนื้อหาของบทสวด เมื่อเข้าใจดีแล้วภายหลังจะไม่สวดคำแปลก็ได้

ต้นกำเนิดของคาถามหาเมตตาใหญ่

           คาถามหาเมตตาใหญ่นี้ เป็นบทบันทึกเรื่องราวและบทพระธรรมเทศนาที่สำคัญตอนหนึ่งของพระพุทธเจ้า ซึ่งถูกจารึกไว้ในพระ

ไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ หน้า ๓๔๑ ชื่อ “เมตตากถา” มีเนื้อความโดยย่อว่า สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับ ณ วัดพระเชตวันมหา

วิหาร ที่อนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้างถวาย ครั้งนั้นได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายให้ประชุมกันแล้วตรัสพระธรรมเทศนาโปรด พระธรรมเทศนา

ที่ยกขึ้นแสดงในครั้งนั้นมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเจริญเมตตากรรมฐาน โดยในเบื้องต้นทรงแสดงอานิสงส์แห่งการแผ่เมตตาว่า ผู้เจริญเมตตา

จะได้รับอานิสงส์มากมายถึง ๑๑ ประการ จากนั้นจึงทรงจำแนกการแผ่เมตตาออกเป็น ๓ ประเภท คือ

๑) การแผ่ไปโดยไม่เจาะจงผู้รับ
๒) การแผ่ไปโดยเจาะจงผู้รับ และ
๓) การแผ่เมตตาไปในทิศทั้ง ๑๐

จากนั้นจึงทรงแสดงคำแผ่เมตตาแต่ละประเภทโดยละเอียด และทรงเน้นย้ำให้ภิกษุจดจำนำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

ความพิเศษของคาถามหาเมตตาใหญ่นี้ก็คือ เป็นพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงยกขึ้นแสดงเอง โดยไม่มีเหตุให้ต้องแสดง เช่น ไม่มีผู้คุยหรือสนทนาเกี่ยวกับการแผ่เมตตา ไม่มีผู้ทูลถาม เป็นต้น เพราะโดยส่วนมากแล้วการแสดงธรรมของพระพุทธองค์จะต้องมีเหตุการณ์ให้ต้องแสดง การที่ทรงยกขึ้นแสดงเองเช่นนี้ ย่อมเป็นพระธรรมเทศนาที่ทรงให้ความสำคัญและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง อนึ่ง
บทแผ่เมตตานี้ เป็นบทแผ่เมตตาที่ยาวที่สุดในบรรดาบทแผ่เมตตาอื่น ๆ จึงได้ชื่อว่า มหาเมตตาใหญ่

อานิสงส์ของการเจริญคาถามหาเมตตาใหญ่ พระพุทธเจ้าแสดงไว้ ๑๑ ประการ คือ

๑. หลับเป็นสุข : คือนอนหลับสบาย ไม่ฟุ้งซ่าน พลิกตัวไปมา
๒. ตื่นเป็นสุข : คือตื่นมาจิตใจแจ่มใส่ ปลอดโปร่ง ไม่เซื่องซึม มึนหัว
๓. ไม่ฝันร้าย : คือฝันดี ฝันเห็นแต่สิ่งที่เป็นมงคล สิ่งที่ดีงาม
๔. เป็นที่รักของมนุษย์ : คือมีมนุษยสัมพันธ์ดี จิตใจเบิกบาน ไม่โกรธง่าย มีเสน่ห์น่าเข้าใกล้
๕. เป็นที่รักของอมนุษย์ : เป็นที่รักของสัตว์เดรัจฉาน ภูตผีปีศาจ
๖. เทวดาย่อมคุ้มครองรักษา :
เทวดาช่วยเหลือบันดาลให้สมหวังในสิ่งที่ต้องการ และป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นให้ถอยห่าง
๗. ไฟ ยาพิษ ศัสตรา ไม่อาจทำร้ายได้
๘. เมื่อทำสมาธิ จิตจะสงบเร็ว
๙. ใบหน้าผ่องใส
๑๐. ไม่หลงตาย :
คือเมื่อถึงเวลาที่จะต้องตายก็ตายด้วยอาการสงบ มีสติ ไม่บ่นเพ้อ คร่ำครวญ ดิ้นทุรนทุราย
๑๑. ยังไม่บรรลุธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก :
ธรรมเบื้องสูงในที่นี้ได้แก่ โลกุตรธรรม ๙ คือ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ ผู้ที่เจริญเมตตาถ้ายังไม่บรรลุธรรม ๙ อย่างนี้ และสามารถเจริญเมตตากรรมญานนี้จนจิตเป็นสมาธิเข้าถึงฌานขั้นใดขั้นหนึ่งและเสียชีวิตลงขณะเข้าฌานก็จะไปบังเกิดในพรหมโลกทันที

๑. บทกราบพระรัตนาตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สะหวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)

 ๒. บทนอบน้อมพระพุทธเจ้า

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

 ๓. บทไตรสรณคมน์

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ     พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ     ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ     สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ     พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ     ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ     สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

 ๔. บทสรรเสริญพระพุทธคุณ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน
สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

 ๕. บทสรรเสริญพระธรรมคุณ

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฎฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ*
______________________
*อ่านว่า วิน-ยู-ฮี-ติ

 ๖. บทสรรเสริญพระสังฆคุณ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
อนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

 ๗. บทแผ่เมตตาให้ตนเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ             ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข
นิททุกโข โหมิ                 ปราศจากความทุกข์
อะเวโร โหมิ                     ปราศจากเวร
อัพยาปัชโฌ โหมิ            ปราศจากอุปสรรคอันตรายและความเบียดเบียนทั้งปวง
อะนีโฆ โหมิ                     ปราศจากความทุกข์กายทุกข์ใจ
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ    มีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิดฯ

 ๘.บทคาถามหาเมตตาใหญ่

 เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเมฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโต ปัจจัสโสสุง ฯ
ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา ฯ

กะตะเม เอกาทะสะ ฯ สุขัง สุปะติ,
สุขัง ปะฏิพุชฌะติ,
นะ ปาปะกัง สุปินัง ปัสสะติ,
มะนุสสานัง ปิโย โหติ,
อะมะนุสสานัง ปิโย โหติ,
เทวะตา รักขันติ,
นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
ตุวิฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ,
มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
อะสัมมุฬโห กาลัง กะโรติ,
อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พรหมะโลกูปะโค โหติ ฯ

เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ อิเม เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา ฯ

อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ อัตถิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ กะตีหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ กะตีหากาเรหิ ทิสาผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

กะตะเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ
(๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ ฯ
อิเมหิ ปัญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

กะตะเมหิ สัตติหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ
(๑) สัพพา อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ ฯ
อิเมหิ สัตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

การแผ่เมตตาไปใน ๑๐ ทิศ

 การแผ่เมตตาไปในทิศทั้ง ๑๐ นี้ คือการแผ่เมตตาให้กับสัตว์ ๑๒ ประเภท ที่อยู่ในแต่ละทิศ ๑๐ ทิศ ไปตามลำดับดังนี้

 ๑. แผ่ให้สัตว์ในทิศทั้ง ๑๐

           กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุฯ
(๘) สัพเพ ทักขะณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวราอัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๒. แผ่ให้ปาณชาติ ในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุฯ

 ๓. แผ่ให้ภูต ในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันต ุฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยา ปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๔. แผ่ให้บุคคลในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๕. แผ่ให้ผู้มีอัตภาพ ในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปันนา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๖. แผ่ให้เพศหญิงในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพพา ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพพา ปัจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพพา อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพพา ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพพา ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพพา ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพพา อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพพา ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพพา เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพพา อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๗. แผ่ให้เพศชายในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๘. แผ่ให้ผู้เป็นพระอริยะในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๙. แผ่ให้ผู้ที่ไม่ใช่พระอริยะในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆาสุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๑๐. แผ่ให้เทวดาในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๑๑. แผ่ให้มนุษย์ในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ

 ๑๒. แผ่ให้สัตว์วินิบาตในทิศทั้ง ๑๐

(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ ฯ

อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ

สัพเพสัง สัตตานัง ปีฬะนัง วัชเชตวา อะปีฬะนายะ,
อุปะฆาตัง วัชเชตวา อะนุปะฆาเตนะ,
สันตาปัง วัชเชตวา อะสันตาเปนะ,
ปะริยาทานัง วัชเชตวา อะปะริยาทาเนนะ,
วิเหสัง วัชเชตวา อะวิเหสายะ,
สัพเพ สัตตา อะเวริโน โหนตุ มา เวริโน,
สุขิโน โหนตุ มา ทุกขิโน,
สุขิตัตตา โหนตุมา ทุกขิตัตตาติ อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตเต เมตตายะตีติ เมตตา ฯ
ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ เจโต ฯ สัพพะพะยาปาทะปะริยุฏฐาเนหิ มุจจะตีติ วิมุตติ ฯ เมตตา จะ เจโตวิมุตติ จาติ เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ

 ๙. บทอุทิศส่วนบุญส่วนกุศล

     อิมินา ปุญญะกัมเมนะ  ด้วยเดชแห่งกุศลผลบุญ ที่เกิดจากการไหว้พระสวดมนต์บทมหาเมตตาใหญ่ เจริญสมาธิภาวนาในวันนี้ตลอดบุญกุศลทั้งหมดที่ข้าพเจ้าได้สร้างสมมาไม่ว่าจะเกิดประโยชน์สุข ความสำเร็จ ความเจริญรุ่งเรืองแก่ข้าพเจ้าเท่าใด ข้าพเจ้าขอน้อมถวายแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอรหันตสาวกทุกองค์ พระอริยบุคคลทั้งหมด

ขอได้โปรดค้ำชูและอุดหนุนคุณมารดาบิดาอุปัชฌาย์อาจารย์ ผู้มีพระคุณทุกท่านที่ล่วงลับไปแล้วและยังมีชีวิตอยู่ที่มีความผูกพันกับข้าพเจ้าทั้งในอดีตชาติและปัจจุบันชาตินี้ตลอดทั้งขอได้โปรดคุ้มครองให้ทุกคนในครอบครัวมิตรรักสนิทกัน ศัตรูหมู่มาร บริวารและทหาร ตำรวจชายแดนที่ดูแลประเทศชาติ คณะรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้ที่กระทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อนสาราสัตว์น้อยใหญ่ ที่เสียสละชีวิตให้แก่ข้าพเจ้าได้กินเพื่อการดำรงอยู่ ขอให้ท่านทั้งหลายทั้งหมด หลุดพ้นจากความทุกข์
ประสบแต่ความสุขยิ่งๆ ขึ้นตลอดไป

ขออุทิศส่วนกุศลไปถึงเจ้ากรรมนายเวรทั้งหมด ทั้งที่เกิดในภพภูมิแล้วก็ดี ยังเป็นสัมภเวสีอยู่ก็ดี ที่ข้าพเจ้าได้เคยล่วงเกินมาก่อนไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมทุกภพทุกชาติก็ดี ทั้งเจตนาและไม่เจตนาก็ดี ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายได้โปรดอนุโมทนารับเอาส่วนบุญนี้เถิด เมื่ออนุโมทนาแล้ว ขอได้โปรดอโหสิกรรมโทษทั้งหลายเหล่านั้นให้แก่ข้าพเจ้า

อนึ่ง หากกรรมเวรใดที่ท่านทั้งหลายได้เคยกระทำต่อข้าพเจ้าไม่ว่าในภพชาติใดก็ตาม ข้าพเจ้าก็ขออโหสิกรรมโทษให้แก่ท่านทั้งหลายด้วยเช่นกัน

สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนจองกรรมจองเวรแก่กันและกันเลย จงมีแต่ความสุขกายสุขใจรักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นตลอดไป

ข้าพเจ้าขออุทิศแผ่ส่วนกุศลนี้ไปให้แด่สรรพสัตว์ทั้งหลายใน ๑๖ ชั้นฟ้า ๑๕ ชั้นดิน และทุกๆ พระองค์ที่ดูแลพระศาสนาทุกหนทุกแห่งและที่ดูแลรักษาชีวิตของข้าพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ก็ดีทั่วสากลพิภพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระโพธิสัตว์ทุกๆ พระองค์ พระอินทร์ พระพรหม ยม ยักษ์ คนธรรพ์ นาคา แม่พระพาย แม่พระเพลิง แม่พระธรณี แม่พระคงคา แม่พระโพสพ พญายมราช นายนิรยบาล ท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ สิริพุทธอำมาตย์ เทวดาเบื้องต่ำตั้งแต่สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาจนถึงภวัคคพรหมชั้นสูงสุด พระภูมิเจ้าที่ ทั้งที่เป็นผีบ้านผีเรือน ทั้งที่บ้านและที่ทำงานของข้าพเจ้าและอเวจีขึ้นมาจนถึงโลกมนุษย์สุดรอบขอบจักรวาลอนันตจักรวาล

และขอแผ่ส่วนกุศลแด่องค์พระสยามเทวาธิราชทุกๆ พระองค์ ตลอดทั้งพระมหากษัตริย์ไทย วีรกษัตริย์ไทย ขอถวายพระราชกุศลแด่ทุกพระองค์ จงมากล้นด้วยบุญญาธิการ มากล้นด้วยฤทธิ์เดชและพระบารมียิ่งๆ ขึ้นไปด้วยเทอญ…

 ๑๐. บทขออโหสิกรรมและอธิษฐานบุญ

     “ข้าพเจ้าขออโหสิกรรม กรรมอันใดที่ข้าพเจ้าเคยได้ล่วงเกินแล้ว ทางกายก็ดี ทางวาจาก็ดี ทางใจก็ดี เจตนาก็ดี มิได้เจตนาก็ดี ในชาติก่อนก็ดี ในชาตินี้ก็ดี ทั้งที่เป็นมนุษย์ก็ดี เทพเทวดาก็ดี พระพรหมก็ดี สัตว์ดิรัจฉานก็ดี สัตว์นรกก็ดี เปรตก็ดี อสุรกายก็ดี พระภูมิเจ้าที่ ภูตผีปีศาจ ดวงจิตวิญญาณทั้งหลายก็ดี ทั้งที่ระลึกได้ก็ดี ระลึกไม่ได้ก็ดี ที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฎสงสาร ๓๑ ภูมิ เสวยสุขอยู่ก็ดี เสวยทุกข์อยู่ก็ดี ขอ
ให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้า เพิ่มพูนทานบารมีแก่ตน อย่าได้มีเวรต่อกันอีกเลย

และกรรมใดๆ ที่ใครๆ ได้ล่วงเกินแล้วแก่ข้าพเจ้า ทั้งทางกายทวาร วจีทวาร มโนทวารทั้งที่ได้ตั้งใจและไม่ตั้งใจ ไม่ว่าจะในชาตินี้หรือชาติไหนๆ ก็ตาม ข้าพเจ้าขออโหสิกรรมให้ท่านเหล่านั้น ยกถวายพระพุทธเจ้าเป็นอภัยทานเพื่อจะได้ไม่มีเวรกรรมต่อกัน

ด้วยอานิสงส์แห่งอภัยทานนี้ ขอให้ข้าพเจ้า ครอบครัว บุตรหลานตลอดวงศาคณาญาติ บิดามารดา ครูบาอาจารย์ และผู้มีพระอุปการคุณทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีแต่ความสุขความเจริญ ปฏิบัติสิ่งใดที่เป็นไปในทางที่ชอบประกอบด้วยธรรม ขอจงสำเร็จผลดังปรารถนาต้องการ เข้าถึงซึ่งพระนิพพานในเร็ววันด้วยเถิด สาธุ สาธุ สาธุ…

คำแปลเมตตาพรหมวิหาระภาวนา

(มหาเมตตาใหญ่แปล)

ขอความนอบน้อมจงมีแด่พระผู้มีพระภาค
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้ว่า ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ซึ่งเป็นอารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถีฯ ณ โอกาสนั้นแลพระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายฯ พระภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ได้ตอบรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญฯ พระผู้มีพระภาคได้ประทานพระดำรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย (คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ) หวังได้แน่นอน (ที่จะได้รับ) อานิสงส์ 11 ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ (ทำให้ชำนาญ) แล้ว ทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากแล้ว สั่งสม (ด้วยวสี 5 ประการ) ดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ อานิสงส์ 11 ประการ (ของเมตตาเจโตวิมุติ) คืออะไรบ้าง? (อานิสงส์ 11 ประการ ของเมตตาเจโตวิมุติ คือ)
(1) นอนหลับเป็นสุข
(2) ตื่นเป็นสุข
(3) ไม่ฝันร้าย
(4) เป็นที่รักของมนุษย์ทั้งหลาย
(5) เป็นที่รักของอมนุษย์ทั้งหลาย
(6) เทวดาทั้งหลายเฝ้ารักษา
(7) ไฟ พิษ หรือ ศัสตรา ไม่กล้ำกราย (ในตัว) ของเขา
(8) จิตเป็นสมาธิเร็ว
(9) ผิวหน้าผ่องใส
(10) ไม่หลงตาย
(๑๑) หากยังไม่บรรลุคุณธรรมเบื้องสูง ก็จะบังเกิดในพรหมโลก
ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนผู้เจริญเมตตาภาวนาเป็นประจำ หวังได้แน่นอนที่จะได้รับ อานิสงส์ 11 ประการของเมตตาเจโตวิมุติ ที่ตนส้องเสพ ทำให้ชำนาญ แล้วทำให้เจริญขึ้นแล้ว ทำให้มากขึ้นแล้ว สั่งสม ด้วย วสี 5 ประการดีแล้ว ทำให้บังเกิดขึ้นด้วยดีแล้วฯ
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มีอยู่
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปเจาะจง บุคคล มีอยู่
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศมีอยู่ฯ
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไป(โดย)ไม่เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไป(โดย)เจาะจง (บุคคล) มีกี่อย่าง?
เมตตาเจโตวิมุติ ที่แผ่ไปในทิศ มีกี่อย่าง?

เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) มี 5 อย่าง
เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไป(โดย)เจาะจง (บุคคล) มี 7 อย่าง
เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศมี 10 อย่างฯ

เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) 5 อย่างมีอะไรบ้าง?
เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปไม่เจาะจง (บุคคล) 5 อย่าง คือ

(1) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
(2) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
(4) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ
(5) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัยเถิดฯ

เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปเจาะจง (บุคคล) 7 อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปเจาะจง (บุคคล) 7 อย่าง คือ)

(1) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ 10 อย่าง มีอะไรบ้าง? (เมตตาเจโตวิมุติที่แผ่ไปในทิศ 10 อย่าง คือ)
(1) ประเภทที่ 1

(1) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (คือทิศตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (คือทิศตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (คือทิศเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (คือทิศใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (คือทิศตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (คือทิศตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (คือทิศตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (คือทิศตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(2) ประเภทที่ 2

(1) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอปาณะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(3) ประเภทที่ 3

(1) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอภูตทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(4) ประเภทที่ 4

(1) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอบุคคลทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(5) ประเภทที่ 5

(1) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอผู้มีอัตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(6) ประเภทที่ 6

(1) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอสตรีทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(7) ประเภทที่ 7

(1) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอบุรุษทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(8) ประเภทที่ 8

(1) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอพระอริยเจ้าทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(9) ประเภทที่ 9

(1) ขอปุถุชนขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอปุถุชนทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(10) ประเภทที่ 10

(1) ขอเทวดาขอผู้มีอัตตภาพทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอผู้มีเทวดาทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(11) ประเภทที่ 11

(1) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอมนุษย์ทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

(12) ประเภทที่ 12

(1) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศบูรพา (ตะวันออก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(2) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศปัจจิม (ตะวันตก) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(3) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอุดร (เหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(4) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศทักษิณ (ใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(5) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอาคเนย์ (ตะวันออกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(6) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศพายัพ (ตะวันตกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(7) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศอีสาน (ตะวันออกเฉียงเหนือ) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(8) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศหรดี (ตะวันตกเฉียงใต้) จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(9) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ
(10) ขอสัตว์วินิปาติกะทั้งหลายทั้งปวง ในทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีทุกข์ จงมีสุข ประคับประคองตนให้รอดพ้นภัย เถิดฯ

 

เมตตาเจโตวิมุติแผ่ไปสู่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงด้วยอาการ 8 นี้ คือ
ด้วยการเว้นการบีบคั้น ไม่บีบคั้นสัตว์ทั้งปวง 1
ด้วยการเว้นการฆ่า ไม่ฆ่าสัตว์ทั้งปวง 1
ด้วยการเว้นการทำให้เดือดร้อน ไม่ทำสัตว์ทั้งปวงให้เดือดร้อน 1
ด้วยการเว้นการย่ำยี ไม่ย่ำยีสัตว์ทั้งปวง 1
ด้วยการเว้นการเบียดเบียน ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง 1
ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้ไม่มีเวร อย่าได้มีเวร 1
จงเป็นผู้มีสุข อย่ามีทุกข์ 1
จงมีตนเป็นสุข อย่ามีตนเป็นทุกข์ 1
จิตชื่อว่า เมตตา เพราะรัก ชื่อว่า เจโต เพราะคิดถึง ธรรมนั้น ชื่อ วิมุติ เพราะพ้นจากพยาบาท และ ปริยุฏฐานกิเลสทั้งปวง จิตมีเมตตาด้วย เป็นเจโตวิมุติด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เมตตาเจโตวิมุติฯ
เมตตาพรหมวิหารภาวนา

อยากบันทึกเอาไว้ในวันนี้

ชีวิตจะดีถ้า

ฟังนะจ๊ะลูกรัก!

I’m someone

Don’t believe…

6963e42ea75a002205d7718592905b18

ประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้ส่วนตัวที่อยากบันทึกเอาไว้ในวันนี้ คือ
การที่เรามีใจเป็นกลางแล้วนั้นก็เลยได้รู้ซึ้งถึงคำว่าสงบจบที่เรา!
คือ เมื่อเราได้ประสบพบเจอได้เห็นได้ยินได้ฟังอะไรมาเราก็ธรรมดาปกติไม่แกว่งไขว้เขวไปตามกระแสและข่าว เพราะรู้ความเป็นจริงว่านี่แหละคือชีวิต เพราะการที่เกิดมาเป็นมนุษย์ย่อมประสบพบเจอได้เห็นได้ยินได้ฟังหลายสิ่งรอบด้านหมุนเวียนเปลี่ยนไปมาเป็นเรื่องปกติในสิ่งที่เกิดขึ้นย่อมมีหลากหลายมากมายแตกต่างทุกสิ่งทุกอย่างมีมาให้เราได้รู้ได้เรียน

เราต้องขอบคุณในทุกสิ่งที่ได้เห็นได้ยินได้ฟังและได้ประสบพบเจอ ไม่ว่าจะดีหรือไม่ก็ตาม
เมื่อคนรอบข้างครอบครัวเพื่อนมนุษย์ด้วยกันพูดบอกเล่ากล่าวว่าหรือเป็นเรื่องราวอะไรทั้งหลายแหล่ก็ตามอย่างเขาทำและเป็นเราก็เป็นกลางคือไม่สนับสนุน ไม่ห้าม ไม่ยุ ไม่เอียงซ้ายไปขวาไม่หน้าไม่หลังไม่พะวังกังวลสับสนวุ่นวายไม่มีคำถามมาในสมองให้ปวดหัวเราสงบอยู่นิ่งๆกลางๆอย่างที่เราเป็นคือมีใจเป็นกลาง ยึดหลักสายกลางหลทางสว่างหลทางสงบให้กับตัวเองเสมอและตลอดไป

ในบางครั้งเมื่อถึงเวลาที่ต้องพูดเราก็พูดจะพูดแต่ความจริงพูดเท่าที่รู้เท่าที่เรามองเห็นเราจะพูดบอกไปตามความเป็นจริงตามโอกาสและตามกาลเวลาก็แล้วแต่โอกาสจะอำนวยตามที่เราจะช่วยและทำได้ อาจให้สติเขาบ้างไม่ได้ให้บ้างก็ต้องดูตามยถาชีวิตและพรหมลิขิตของแต่ละคน เมื่อให้สติแล้วนั้นไซร้ การที่เขาจะทำได้หรือไม่ได้นั้นก็แล้วแต่เขาจะเลือกที่จะทำเราเคารพในการตัดสินใจของแต่ละคนเสมอ ก็แล้วแต่เขาจะทำและเป็นไปแล้วแต่ส่วนบุคคลล้วนไม่เกี๋ยวกับเรา แต่เราก็ยังมีความเมตตามีรักที่บริสุทธิ์มีพื้นที่ที่สงบให้กับตัวเองให้กับเขาเหล่านั้นเสมอถ้าเขาต้องการ

เขาอาจผิดหรือถูกก็ไม่เป็นไรเพราะเราพ้นจากคำว่าผิดถูกแล้วนั้นไซร้มันเป็นเรื่องดี

การที่ทำผิดก็ไม่ได้หมายความว่าผิดเป็นคนเลว

(ส่วนตัวแล้วคิดว่าไม่มีคนดีไม่มีคนชั่วมีแต่หลงลืมตัวแล้วทำผิดพลาดเผลอไป) ทุกคนย่อมมีดีและมีชั่วในตัวตนจะดีน้อยดีมากชั่วน้อยชั่วมาก นั่นก็แล้วแต่วิบากที่ได้ทำมา!. แค่ผิดพลาดในบางอารมณ์ชั่ววูบในขณะนึงซะส่วนมากนี่คือความคิดส่วนตัวส่วนบุคคล

การที่เขาจะสำนึกผิดหรือไม่นั้นมันก็ขึ้นอยู่กับว่าวิบากกรรมของแต่ละคน ผิดนั้นถ้าเราเผลอไม่มีสติก็สามารถทำผิดกันได้ทุกคน
ที่มีสุภาษิตบอกเล่าไว้ว่า
“สี่ตีนยังรู้พลาด นักปราชญ์ยังรู้พลั้ง”
ก็แค่พลาดพลั้งเผลอไปทุกคนมีโอกาสผิดพลาดได้ทั้งนั้นและทุกคนย่อมมีโอกาสที่จะเริ่มต้นใหม่และกลับตัวกลับใจไปในทางที่ถูกที่ควรได้เสมอ
เราควรให้โอกาสซึ่งกันและกันเสมอไม่ใช่คอยแตจะซ้ำเติมยึดผิดถูกเป็นอาจิน เวลาเห็นคนทำผิดพลาดเราควรให้โอกาสช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกันไม่ใช่คอยแต่จะลงโทษ ลงทัณฑ์ตำหนิเหยียบย่ำและซ้ำเติมอย่างเดียวควรทำใจให้เป็นกลาง โลกเราจะได้น่าอยู่ขึ้นมากมายถ้าเราช่วยกันคนที่ทำผิดพลาดก็อยากกลับใจถ้าเราไม่ลงทัณฑ์โกรธแค้ตำหนิชี้นิ้วด่าว่าเข่นฆ่าประนามจนขาดความเมตตา เราควรแยกแยะและมีเมตตา

ควรทำใจให้เป็นกลางมีเมตตามีรักที่บริสุทธิ์ให้กับตัวเอง,ให้ผู้อื่นและสัตว์อื่นโลกของเราจะได้น่าอยู่ขึ้น

ขอเป็นกำลังใจให้ทุกท่านที่เหนื่อยและท้อเสมอไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นก็ตามจงรีบลุกขึ้นจากช่วงเวลาที่แย่ของชีวิตที่กำลังผจญอยู่โปรดจำไว้ว่าทุกสิ่งผ่านมาย่อมผ่านไปไม่มีอะไรยั่งยืนอย่ายึดติดนักเลยจะเสียเวลาเปล่าๆ ชีวิตต้องดำเนินต่อไปเพราะมีสิ่งที่ดีและไม่ดีที่จะเข้ามาตลอดชีวิตจงฉุดคิดอย่างมีสติเถิดท่านทั้งหลายขอให้ทำใจให้สบายยอมรับความจริงอยู่กับปัจจุบัน 

ให้มีสติให้มากๆพักผ่อนให้เพียงพอ ให้รักตัวเองและให้กำลังใจตัวเองให้มากๆชีวิตคนเรานั้นแสนจะสั้น ยิ้มให้ไวอภัยให้เร็ว จงปลดปล่อยใจตัวเองให้เป็นอิสละจากสิ่งทั้งหลายทุกชั่วขณะเถิด
เราก็จะเป็นเราเป็นตัวเองเป็นกลางๆอย่างสงบเช่นเติมไม่ซ้ำเติมใครๆ จะให้กำลังใจเท่าที่เราทำได้ นั่นคืองานและหน้าที่ของเรา
โปรดใช้วิจารณญานในการอ่านนี่เป็นแค่ประสบการณ์ชีวิตและความคิดเห็นส่วนบุคคลก็เท่านั้นเอง

ขอให้ทุกท่านและครอบครัวจงมีแต่สันติสุขทุกท่านเทอญ

ดี , ดีที่สุด

98858cf0746bbcfd0bbc403ee179af12

การมีเพื่อนที่ดีนั้นก็ดี แต่ การที่เราเป็นเพื่อนที่ดีให้กับตัวเองได้นั้นก็จะ ดีที่สุด!เพราะไม่มีใครที่จะมาเป็นเพื่อนที่ดีให้กับเราได้ตลอดเวลานอกจากตัวเราเอง

การทีมีหมอที่ดีมารักษาเวลาเจ็บป่วยนั้นก็ดีแต่ การที่เราป้องกันดูแลรักษาสุขภาพตัวเองไม่ให้เจ็บป่วยได้นั้นก็จะ ดีที่สุด! เพราะไม่มีหมอคนไหนที่จะมาดูแลรักษาเราได้ดีเท่ากับตัวเราเอง

การที่มีคนมารักเรานั้นก็ดี แต่ การที่เรารักตัวเองนั้นก็จะดีที่สุด! เพราะเราเท่านั้นที่จะอยู่กับตัวเองไปจนวันตายไม่มีใครที่จะอยู่กับเราและรักเราไปจนถึงวันสุดท้ายของชีวิตของเราได้นอกจากตัวเราเอง

การที่มีครูที่ดีมีคนแนะนำที่ดีนั้นก็ดี แต่ การที่เราเป็นครูให้คำแนะนำตัวเองได้นั้นจะดีที่สุด! เพราะเราเท่านั้นที่สอนตัวเองได้และเปลี่ยนตัวเองได้ไม่ใช่ครูที่ไหนเลย เราคนเดียวที่เป็นครูที่ดีให้กับตัวเองได้

เพราะฉะนั้นเราเท่านั้นที่จะเป็นเพื่อนที่ดี เป็นหมอที่ดี เป็นครูที่ดี และ เป็นคนรักที่ดีให้กับตัวเองได้ดีที่สุด!

Peace be with you and with your spirit.